ออฟฟิศซินโด (Office Syndrome)
เป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นกับคนที่ทำงานในออฟฟิศ เนื่องจากลักษณะงานที่ต้องนั่งหน้าคอมพิวเตอร์หรือทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งด้วยท่าทางซ้ำๆ ต่อเนื่องเป็นเวลานาน จนอาจส่งผลให้เกิดโรคและความผิดปกติในระบบต่างๆ ของร่ากาย
สาเหตุหลักของโรคออฟฟิศซินโดรม
คือการใช้งานกล้ามเนื้องและข้อต่อที่ผิดไปจากภาวะปกติ เกิดจากการทำงานในพื้นที่จำกัดและขาดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและข้อต่อ ได้แก่
1. นั่งไขว่ห้าง
2. นั่งหลังงอ หลังค่อม
3. นั่งเบาะเก้าอี้ไม่เต็มก้น
4. ยืนแอ่นพุง/ยืนหลังค่อม
5. สะพานกระเป๋าหนักข้างเดียว
คือการใช้งานกล้ามเนื้องและข้อต่อที่ผิดไปจากภาวะปกติ เกิดจากการทำงานในพื้นที่จำกัดและขาดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อและข้อต่อ ได้แก่
1. นั่งไขว่ห้าง
2. นั่งหลังงอ หลังค่อม
3. นั่งเบาะเก้าอี้ไม่เต็มก้น
4. ยืนแอ่นพุง/ยืนหลังค่อม
5. สะพานกระเป๋าหนักข้างเดียว


แหล่งที่มา : www.ancbroker.com
พฤติกรรมที่ก่อให้เกิดโรคออฟฟิศซินโดรม
ได้แก่ ความเครียด ทานอาหารไม่ตรงเวลา ทำงานหนักเกินไป และไม่ออกกำลังกาย
ได้แก่ ความเครียด ทานอาหารไม่ตรงเวลา ทำงานหนักเกินไป และไม่ออกกำลังกาย
อาการที่พบได้บ่อยในออฟฟิศซินโดรม
1. กล้ามเนื้ออักเสบเรื้อรัง
2. เอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ/ยกแขนไม่ขึ้น
3. อาการปวด/ชาร้าวลงแขน
4. ยืนแอ่นพุง/ยืนหลังค่อม
1. กล้ามเนื้ออักเสบเรื้อรัง
2. เอ็นกล้ามเนื้ออักเสบ/ยกแขนไม่ขึ้น
3. อาการปวด/ชาร้าวลงแขน
4. ยืนแอ่นพุง/ยืนหลังค่อม
โรคออฟฟิศซินโดรมรักษาได้อย่างไร
ปัจจุบันการรักษากลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรมด้วยวิธีต่างๆ นั้นเป็นเพียงการรักษาเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด เป็นการรักษาอาการกล้ามเนื้ออักเสบหรือรักษาพังผืดในกล้ามเนื้อ ดังนั้นวิธีป้องกันที่ดีที่สุด คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน พักผ่อนให้เพียงพอ ลดความเครียด และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะช่วยลดการเกิดอาการบาดเจ็บต่างๆ ที่จะมาบั่นทอนคุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพในการทำงานได้อย่างถาวร
ปัจจุบันการรักษากลุ่มอาการออฟฟิศซินโดรมด้วยวิธีต่างๆ นั้นเป็นเพียงการรักษาเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด เป็นการรักษาอาการกล้ามเนื้ออักเสบหรือรักษาพังผืดในกล้ามเนื้อ ดังนั้นวิธีป้องกันที่ดีที่สุด คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการทำงาน พักผ่อนให้เพียงพอ ลดความเครียด และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งจะช่วยลดการเกิดอาการบาดเจ็บต่างๆ ที่จะมาบั่นทอนคุณภาพชีวิตและประสิทธิภาพในการทำงานได้อย่างถาวร
วิธีการรักษา ออฟฟิศซินโดรม (Office Syndrome) อาการ ปวดหลัง ปวดคอ ปวดไหล่
1. การรักษาด้วยตัวเอง
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เช่น ไม่ควรนั่งติดกันเป็นเวลานาน ปรับเปลี่ยนท่านั่งให้เหมาะสม
การยืดกล้ามเนื้อเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่น
การออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรง
2. การรักษาทางกายภาพบำบัด
การรักษาทางกายภาพบำบัด
การรักษามือนักกายภาพบำบัด (Manual Technique)
การรักษาด้วยเครื่องมือทางกายภาพบำบัด เช่น
อัลตร้าซาวด์ (Ultrasound)
การกระตุ้นไฟฟ้า (Electrical stimulation)
เลเซอร์ (Laser)
คลื่นกระแทก (Shock wave)
คลื่นสั้น (Short wave)
การออกกำลังกายเพื่อการรักษา (Therapeutic exercise)
การรับคำแนะนำอื่นๆ เช่น การยืดกล้ามเนื้อ การปรับเปลี่ยนท่านั่งให้เหมาะสม การลดการทำงานของกล้ามเนื้อที่ไม่จำเป็น
การรักษาทางกายภาพบำบัด
การรักษามือนักกายภาพบำบัด (Manual Technique)
การรักษาด้วยเครื่องมือทางกายภาพบำบัด เช่น
อัลตร้าซาวด์ (Ultrasound)
การกระตุ้นไฟฟ้า (Electrical stimulation)
เลเซอร์ (Laser)
คลื่นกระแทก (Shock wave)
คลื่นสั้น (Short wave)
การออกกำลังกายเพื่อการรักษา (Therapeutic exercise)
การรับคำแนะนำอื่นๆ เช่น การยืดกล้ามเนื้อ การปรับเปลี่ยนท่านั่งให้เหมาะสม การลดการทำงานของกล้ามเนื้อที่ไม่จำเป็น
3. แนวทางการรักษาทางด้านอื่น ๆ เช่น การนวด การฝังเข็ม การรับประทานยา
การป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นอีกของโรคนี้
เนื่องจากเป็นโรคที่เกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ซ้ำ ๆ เป็นเวลานาน ควรที่จะต้อง
• ปรับที่พฤติกรรมการทำงาน ให้มีเวลาพัก
• ปรับและจัดท่าทางการทำงานให้เหมาะสม
• ยืดกล้ามเนื้อ
• ออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรง
• ดื่มน้ำให้เพียงพอ
• รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
• พักผ่อนให้เพียงพอ
• ฝึกผ่อนคลายความเครียด
การป้องกันไม่ให้กลับมาเป็นอีกของโรคนี้
เนื่องจากเป็นโรคที่เกิดจากการทำงานของกล้ามเนื้อที่ซ้ำ ๆ เป็นเวลานาน ควรที่จะต้อง
• ปรับที่พฤติกรรมการทำงาน ให้มีเวลาพัก
• ปรับและจัดท่าทางการทำงานให้เหมาะสม
• ยืดกล้ามเนื้อ
• ออกกำลังกายเพิ่มความแข็งแรง
• ดื่มน้ำให้เพียงพอ
• รับประทานอาหารที่มีประโยชน์
• พักผ่อนให้เพียงพอ
• ฝึกผ่อนคลายความเครียด




สนใจรักษาอาการออฟฟิศซินโด (Office Syndrome) ติดต่อ
KIN (คิน) - Rehabilitation & Homecare
โทร. 0802400426 / 091 803-3071 / 0-2020-1171
สอบถามบริการของ KIN แอด LINE@ สอบถามรายละเอียด @kin.rehab มี @ ข้างหน้า หรือ Click : http://bit.ly/2M5f3Id
แผนที่ไป KIN (คิน) http://bit.ly/2VvPDq6
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.kinrehab.com/
FaceBook(Inbox) : https://www.facebook.com/KIN.Rehabilitation
KIN (คิน) - Rehabilitation & Homecare
โทร. 0802400426 / 091 803-3071 / 0-2020-1171
สอบถามบริการของ KIN แอด LINE@ สอบถามรายละเอียด @kin.rehab มี @ ข้างหน้า หรือ Click : http://bit.ly/2M5f3Id
แผนที่ไป KIN (คิน) http://bit.ly/2VvPDq6
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม https://www.kinrehab.com/
FaceBook(Inbox) : https://www.facebook.com/KIN.Rehabilitation
Tags